Pricing
The hybrid work era thrives on flexibility and agility.
And that’s exactly what our plans and pricing offer.
VLEARN Workspace
VCLASS
Billed monthly
Billed monthly
STANDARD
MOST POPULAR
40
Baht
40
Baht
/ Account / Month (minimum 50 users)
Up to 100GB storage
Up to 100 classes
Unlimited members per class
Up to 50 class materials
PREMIUM
MOST POPULAR
50
Baht
50
Baht
/ Account / Month (minimum 500 users)
Up to 500GB storage
Up to 500 classes
Unlimited members per class
Up to 500 class materials
ENTERPRISE
MOST POPULAR
10
Baht
10
Baht
/ Account / Month (minimum 2,000 users)
Up to 2,000GB storage
Unlimited classes
Unlimited members per class
Unlimited class materials
Many more features and details
Plan details
STANDARD
40 Baht
/ Account / Month (minimum 50 users)
PREMIUM
50 Baht
/ Account / Month (minimum 500 users)
ENTERPRISE
10 Baht
/ Account / Month (minimum 2,000 users)
Classes
Members
Class Materials
100
Unlimited
100
500
Unlimited
500
Unlimited
Unlimited
Unlimited
Cloud Storage
100 GB
500 GB
2,000 GB
STANDARD
PREMIUM
ENTERPRISE
STANDARD
Classes
Members
Class Materials
100
Unlimited
100
Cloud Storage
100 GB
PREMIUM
Classes
Members
Class Materials
500
Unlimited
500
Cloud Storage
500 GB
ENTERPRISE
Classes
Members
Class Materials
Unlimited
Unlimited
Unlimited
Cloud Storage
2,000 GB
VCOURSE
An online learning platform with selected quality courses by experts, institutes and leading
organizations to meet the needs of all groups of students
Trusted by more than 500 brands and enterprises
Discover how True VWorld brings virtual to life
August 4, 2022
2 mins read
เมื่อพูดถึงการทำงานในยุคปัจจุบัน การเพิ่ม Productivity ให้กับตนเองกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ขาดไม่ได้ที่จะทำให้องค์กรเติบโตขึ้น แต่ยังมีคนจำนวนไม่น้อยที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าว และนี่คือ 7 สิ่งที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับการสร้าง Productivity 1.เงินเดือนเป็นสิ่งที่สะท้อน Productivity Productivity เป็นเรื่องของการบริหารจัดการต้นทุนต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และแน่นอนว่าย่อมมีเรื่องเงินเดือนเข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้พนักงานหรือแม้แต่ผู้บริหารองค์กรบางรายมองว่าเงินเดือนเป็นสิ่งที่สะท้อน Productivity ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ถูกเสียทีเดียว เงินเดือนเป็นสิ่งที่มีการคำนวณจากปัจจัยต่างๆ มากมาย ทั้งตำแหน่งหน้าที่ ความคาดหวัง ไปจนถึงความสามารถ มีหลายกรณีที่พนักงานได้รับเงินเดือนน้อยกว่าที่ควรจะเป็นแม้ว่าจะมี Performance ที่ดี การให้เงินเดือนสูงๆ จึงเป็นหนึ่งกลยุทธ์หลักในการรักษาไว้ซึ่งพนักงานที่มีความสามารถ แต่ไม่ว่าจะทำผลงานดีหรือไม่ พนักงานก็ยังคงได้รับเงินส่วนนี้เท่าเดิมเสมอ ดังนั้นจำนวนเงินเดือนจึงไม่ใช่เครื่องสะท้อน Productivity แต่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของแรงจูงใจในการทำงานเท่านั้น 2.Multitasking คือวิธีการทำงานที่ดี หลายคนน่าจะคุ้นชินกับการ Multitasking หรือหมายถึงการทำงานหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน แต่จากการศึกษาของ University of London พบว่าการทำงานแบบ Multitasking ไม่ได้มีส่วนช่วยให้คุณสามารถทำงานได้เสร็จไวขึ้น เพราะการทำงานแบบนี้ยังสร้างประสิทธิผลน้อยกว่าการจดจ่ออยู่กับการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง นอกจากนี้การทำงานสลับไปมาหลายงานในเวลาเดียวกันยังมีส่วนในการทำลายความคิดสร้างสรรค์และ IQ ซึ่งเป็นขุมพลังสำคัญของการสร้าง Productivity ในการทำงานอีกด้วย Table of Contents 3.Productivity เป็นสิ่งที่วัดได้ยาก “คนนั้นทำงานเก่ง คนนี้ทำงานดี” คำพูดเหล่านี้ทำให้ Productivity หรือผลิตผลมักอยู่ในรูปของนามธรรมทำให้หลายคนคิดว่าการวัดระดับ Productivity ออกมาเป็นรูปธรรมเป็นเรื่องที่ไม่สามารถทำได้อย่างเสมอภาค เพราะแต่ละตำแหน่งงานก็มีหน้าที่ สภาวะแวดล้อมและทักษะที่ใช้ในการทำงานซึ่งแตกต่างกัน โดยในความจริงแล้ว การวัด Productivity เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ไม่ยากด้วยมาตราฐานการวัด Productivity แบบต่างๆ ผ่านการใช้กรอบแนวคิดที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็น MBO KPI หรือ OKR ก็ล้วนเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะในการทำงานทั้งสิ้น 4.คนเก่งต้องทำงานเองคนเดียว คนเก่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่ทุกบริษัทต้องการ แต่การเป็นคนเก่งที่ทำงานคนเดียวเท่านั้นอาจจะไม่ใช่คำตอบที่ตอบสนองต่อแนวคิด Productivity ได้ดีนัก เพราะการทำงานด้วยตัวคนเดียวมีข้อจำกัดด้านภาระงานที่สามารถรับผิดชอบได้ การทำงานเป็นทีมจึงเป็นวิธีการทำงานที่ช่วยทลายข้อจำกัดในด้านของปริมาณภาระงานอันมากมายในโปรเจ็คใหญ่ๆ ซึ่งมักจะมีงานหลายประเภทและแต่ละงานก็เหมาะกับคนที่มีความถนัดแตกต่างกัน และการทำงานเป็นทีมยังช่วยพัฒนาทักษะในการบริหารความสัมพันธ์และการสื่อสาร ซึ่งต่างออกไปจากการทำงานเพียงคนเดียวอีกด้วย 5.คนทำงานเก่งไม่จำเป็นต้องแสดงออกเก่ง คุณเคยเจ็บใจหรือไม่เวลาเห็นคนทำงานไม่เก่งแต่มีทักษะการสื่อสารเป็นเลิศสามารถเสกงานแย่ๆ ให้กลายเป็นผลงานชิ้นโบแดงได้ทันตาเห็น การแสดงออกเป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้ผู้คนเข้าใจและประทับใจในงานของคุณมากยิ่งขึ้น ดังนั้นหากเป็นคนที่ทำงานเก่งแล้ว สิ่งต่อมาที่ต้องต่อยอดคือทักษะการพรีเซนต์ การแสดงออกต่อหน้าผู้คน และการสื่อสารอย่างมีคุณภาพเพื่อเป็นใบเบิกทางสู่ความสำเร็จต่างๆ ในอนาคต 6.คนที่ทำงานมีประสิทธิภาพไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือช่วย สำหรับการทำงานในยุคโลกาภิวัฒน์ที่ทุกคนใช้เครื่องมือช่วยเหลือในการทำงานแล้ว การไม่ใช้งานเครื่องมือช่วยอาจจะลด Productivity ในการทำงานลง เพราะเครื่องมือเหล่านี้สามารถร่นระยะเวลาในการทำงานที่มีรูปแบบตายตัวหรืองานที่ต้องทำเป็นประจำลงได้เป็นอย่างมาก ซึ่งงานซ้ำๆ จำเจพวกนี้นี่แหละ ที่ทำให้คุณไม่มีเวลาในการสร้างสรรค์คุณค่าใหม่ๆ ดังนั้นหากมีเครื่องมือช่วยงานที่เหมาะสมกับลักษณะงานหรือสามารถเชื่อมโยงไอเดียที่แตกต่างของคุณกับทีมได้ ก็อย่ารีรอที่จะนำมาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่ม Productivity ให้กับงานของคุณเลย 7.Productivity สำคัญที่สุดในการทำงาน แน่นอนว่า Productivity เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้งานของคุณออกมามีประสิทธิภาพ แต่อย่างไรก็ตามการบริหารคุณภาพชีวิตให้มีความสมดุลและสามารถรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคนรอบตัวเอาไว้ได้ก็เป็นสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน เพราะคุณภาพชีวิตที่ดี และการบริหารจัดการเวลาที่พอเหมาะจะส่งผลโดยตรงให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราดีขึ้น แน่นอนว่าสิ่งเหล่านั้นจะช่วยผลักดันคุณภาพการทำงาน ความสัมพันธ์ในองค์กร ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีต่อทั้งตัวพนักงานและองค์กรในระยะยาวอีกด้วย สรุป แนวคิดการสร้าง Productivity ในแต่ละบุคคลนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ผลิตภาพของคนในบริษัทเป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องถูกปูความเข้าใจตั้งแต่รากฐาน เพื่อทำให้เข้าใจภาพรวมตรงกันว่าเป้าหมายของบริษัทคืออะไร และทำอย่างไรจึงจะสำเร็จ บุคลากรแต่ละคนจึงสามารถทำตนเองให้มี Productivity ได้อย่างเหมาะสมที่สุด แน่นอนว่าเครื่องมือเองก็มีส่วนเกี่ยวข้องเช่นกัน การมีตัวช่วยที่ดีสำหรับประชุมงานและการสื่อสารภายในทีมที่มีประสิทธิภาพจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เพิ่ม Productivity ในบริษัทได้อย่างชัดเจน ซึ่ง True VROOM เป็นอีกหนึ่งแพลตฟอร์มที่สามารถพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของคุณได้มากขึ้น ตอบโจทย์การทำงานของคนรุ่นใหม่ สามารถดูรายละเอียดต่าง ๆ และทดลองใช้งานได้ฟรีที่ True VROOM
August 4, 2022
3 mins read
7 Case Studies ตัวอย่างที่ดีต่อการทํางานเป็นทีม ไม่ว่าจะเป็นบริษัทเล็กหรือบริษัทใหญ่ การทำงานเป็นทีมย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่การรวมคนมากมายที่แตกต่างกันย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย เราจึงขอนำเสนอ 7 Case Studies ที่น่าสนใจจากบริษัทใหญ่ ที่ไม่ว่าคุณจะเป็นเจ้าของธุรกิจหรือพนักงานก็สามารถศึกษาและนำไปใช้ได้ Table of Contents 1.เป้าหมาย คือ ปัจจัยสำคัญของคำว่าทีม อยากให้การทำงานเป็นทีมประสบความสำเร็จได้ องค์กรจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายของทีมให้ชัดเจน ทั้งเป้าหมายในการทำงาน รวมถึงเป้าหมายในการซัพพอร์ตบริษัทด้านอื่นๆ เพื่อทำให้คนในทีมเห็นภาพกว้าง และประโยชน์ในการทำงานตามความรับผิดชอบของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น Case Study ที่น่าสนใจ: Gojek บริษัทเจ้าของแอปพลิเคชันเรียกรถชื่อดังมีการตั้งเป้าหมายที่ชัดเจนในการสร้างแบรนด์ว่าต้องการอำนวยความสะดวกให้กับคนในอินโดนีเซีย และในขณะเดียวกันก็อยากแก้ปัญหารถติดภายในประเทศด้วย ทางบริษัทจึงประกาศเป้าหมายดังกล่าวให้คนในทีมรับรู้ร่วมกันและมีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป้าหมายที่ชัดเจนนี้ทำให้ Gojek เป็นอีกหนึ่งบริษัทที่เติบโตได้ท่ามกลางคู่แข่งมากมายในระดับโลก 2. การทำงานเป็นทีมที่ดีไม่จำเป็นต้องใหญ่ ยิ่งบริษัทเติบโตยิ่งต้องมีคนเยอะ แต่การทำงานเป็นทีมอาจไม่จำเป็นต้องใช้คนมากขนาดล้นห้องประชุม การทำงานที่ดีควรมีจำนวนคนที่เหมาะสม และบุคลากรเหล่านั้นควรเป็นคนที่มีบทบาทในการทำงานดังกล่าวจริง ๆ ไม่เช่นนั้นการบริหารจัดการรวมถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการทำงานต่าง ๆ ก็จะทำได้ยากขึ้นด้วย Case Study ที่น่าสนใจ: Jeff Bezos ผู้ก่อตั้ง Amazon เป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับแนวคิดนี้ เห็นได้จากการนำเสนอแนวคิดที่ว่าการทำงานเป็นทีม หรือการประชุมทีมที่ดี ควรมีจำนวนคนให้พอดีกับพิซซ่าสองถาด ไม่จำเป็นต้องมีมากกว่านั้นเพื่อป้องกันการสับสนในคำสั่ง ลดความซับซ้อนในการทำงาน รวมถึงในบางครั้งทีมขนาดเล็กยังทำให้ทุกคนในทีมสามารถแสดงศักยภาพ และนำเสนอความคิดเห็นได้หลากหลาย ช่วยให้ทีมเติบโตอย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 3. ประชุมไม่ต้องถี่ การทำงานเป็นทีมที่ดีควรคุยเท่าที่จำเป็น หนึ่งในปัญหาที่ส่งผลกับการทำงานเป็นทีมมากที่สุดคือการประชุม พนักงานจำนวนมากพบว่าการประชุมต่าง ๆ มีมากเกินไปจนอาจกระทบกับเวลาในการทำงาน เพราะบางครั้งการประชุมก็กินเวลามากเกินความจำเป็น ซึ่งการทำงานเป็นทีมที่ดีควรกำหนดจำนวนการประชุมให้พอเหมาะ Case Study ที่น่าสนใจ: Elon Musk ผู้ก่อตั้ง และ CEO ชื่อดังของ SpaceX ได้กำหนดให้พนักงาน “ออกจากห้องประชุม” ได้เลยหากการประชุมนั้นไม่ได้มีส่วนช่วยในการทำงานของตัวเอง พร้อมยืนยันว่าไม่ใช่พฤติกรรมที่หยาบคาย แต่กลับเป็นสิ่งจำเป็นในการทำงานด้วยซ้ำ และนั่นก็ทำให้ทีมงานของ SpaceX และ Tesla สามารถทำงานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 4. การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างทีมเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก การเมืองและความขัดแย้งระหว่างบุคลากรเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้การทำงานเป็นทีมไม่ก้าวหน้า เพราะในบางครั้งเพียงแค่การ “คุยกันได้” ระหว่างทีมอาจไม่เพียงพอ แต่องค์กรจำเป็นต้องมีการสานสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรให้แน่นแฟ้น เพื่อให้การทำงานทั้งหมดราบรื่นในระยะยาว Case Study ที่น่าสนใจ: Warby Parker แบรนด์แว่นตาออนไลน์ยอดนิยมจากสหรัฐอเมริกาเป็นตัวอย่างของการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เห็นได้จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางบริษัทจัดขึ้น เพื่อให้พนักงานเข้าร่วม โดยอ้างอิงจากความสนใจของคนในทีมเป็นหลัก รวมถึงเปิดโอกาสให้พนักงานพูดคุยกันมากขึ้น ทำให้ความสัมพันธ์ในองค์กรแข็งแกร่ง 3. New Customer Communication Tools Customer Communication Tools หรือ เครื่องมือสำหรับการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าได้ถูกปรับเปลี่ยนอย่างมากเมื่อเข้าสู่ยุค Digital Disruption บริษัทน้อยใหญ่ได้หยิบยกเครื่องมือติดต่อสื่อสารลูกค้าหลากหลายรูปแบบขึ้นมาใช้ ไม่ว่าจะเป็น Knowledge Base, Live Chat, Status Page, CRM รวมถึง Social Listening ด้วย อัตราส่วนการเติบโตของ Customer Relation Tools จะสอดคล้องกับการเติบโตของ Remote Work คือมีการใช้งานมากขึ้นในช่วง Covid-19 เมื่อผู้คนออกไปไหนมาไหนไม่ได้ ทาง Project.co มีการประเมินว่าการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าในช่วงปี 2022 มีการใช้ Email 51% และ ช่องทางออนไลน์อื่นๆ 31% เป็นช่องทางหลัก ในขณะที่การใช้งานโทรศัพท์มีเพียง 7% และการนัดเจอหน้ากันมีเพียง 5% เท่านั้น ในอนาคตเมื่อเทคโนโลยีอย่าง Metaverse มีความสำคัญกับโลกเสมือนมากขึ้น ก็อาจส่งผลให้ Customer Communication Tools เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จึงเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่น่าจับตามองอย่างยิ่ง ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร ธุรกิจขนาดเล็กในประเทศไทยอาจจำเป็นต้องปรับตัวมากขึ้น เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของลูกค้ารุ่นใหม่ที่คุ้นชินกับการสื่อสารผ่าน Customer Communication Tools ต่าง ๆ ซึ่งมีความรวดเร็วและสามารถตอบสนองต่อลูกค้าได้ดี การดำเนินธุรกิจในอนาคตอาจใช้คนน้อยลง และใช้ Customer Communication Tools มาสนับสนุนในการทำงานมากขึ้น โดยเฉพาะในส่วนของการบริการลูกค้า (Customer Services) การติดต่อสื่อสาร และการแก้ปัญหาสินค้าและบริการเบื้องต้น 4. Artificial Intelligence Next Gen Artificial intelligence (AI) หรือ ปัญญาประดิษฐ์ อาจเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ผู้ประกอบการจำนวนมากคุ้นเคย และมองว่าเป็นเทคโนโลยีธรรมดา ๆ เพราะในปัจจุบัน AI สามารถเข้าถึงได้ง่าย และมีราคาค่อนข้างถูก ทว่าการใช้งาน AI มีแนวโน้มจะพัฒนามากขึ้นเนื่องจากข้อมูลปริมาณมหาศาลที่เกิดขึ้นในช่วง Digital Disruption รวมถึงสถานการณ์โรคระบาด Covid-19 โดยคาดการณ์ว่าตลาด AI ทั่วโลกจะมีมุลค่าสูงถึง 309.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2026 และมีการพัฒนา AI รูปแบบต่าง ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร การผลิตมีโอกาสใช้มนุษย์น้อยลง เนื่องจากความฉลาดของ AI ครอบคลุมการทำงานโดยรวมภายในองค์กรมากขึ้น การจ้างงานบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทางเกี่ยวกับ AI มีแนวโน้มสูงขึ้น รวมถึงอัตราค่าจ้างที่สูงขึ้นเช่นกัน การใช้ AI เข้าช่วยจะมีบทบาทกับองค์กรแทบทุกขนาดเนื่องจากเป็นการทำงานที่ปราศจากอคติ ทำให้มีขั้นตอนที่โปร่งใส ตรวจสอบได้...
Frequently asked questions
About plans and pricing
VLEARN
- VLEARN is a virtual learning management system with education-centric tools that empower individuals, businesses and institutions to learn, teach and train remotely.
VCLASS & VCOURSE
VCLASS is a classroom management tool to facilitate seamless online learning and communication between instructors and students.
- Log-in to VLEARN,
- On the Homepage click Menu
- Select VCLASS to enter
- Click on Create Workspace
- Add Users to the workspace
- Click on Create Class
- Add Users to Class
- Click on Create Task or Assignment
- Click on the Summary tab to check task progress
- Click on the Gradebook tab to manage grades
- You will need a Join Code to join a workspace. Please contact the Admin or Course Instructor, if you do not have it or make a request to be added.
- Name the workspace
- Select the Educational Stage from the options below (you can choose more than one) including:
-None
-Primary Education
-Secondary Education
-Vocational Education
-Higher Education
-Business - Click Create to create the workspace
- Go to registration page www.vcourse.ai
- Click on Register
- Fill in the details required
- Click the Register button
- You will receive a confirmation email at the email address registered to your account. Complete the verification process.
- Once your account is verified, visit www.vcourse.ai and fill in your email address and password to use VCOURSE.
- Check if your email address is correct and the same one used in the registration process
- Check in your email inbox’s Spam, Junk, or Bulk folders
- Resend the verification email from vcourse.ai website
- Contact customer support on Line @VCOURSE
- Click on Log-in
- Click Forgot Password
- Enter the email address registered with your account
- You will receive a password reset email. Complete the process to reset your password.
- Click on Profile and select My Course
Get started with VLEARN
Bringing education into the hybrid work era.
Start your free trial today.
Start your free trial today.