TRUE VIRTUAL WORLD
Products

All-in-one secure video meeting, live streaming and collaboration tool for small business and large corporations

Learn more

Virtual workspace for individuals and teams to create and share easily from anywhere

Learn more

Integrated platform offering online classes and instruction for individuals, professionals and groups.

Learn more
Solutions
All Solutions

Individual

Be productive from home, office, and anywhere in between

Enterprise

Effective remote work solutions for small businesses to large corporations

Education

Powerful hybrid learning platform for education professionals and students

Government

Secure and transparent all-in-one workspace for government offices

Pricing
Resources
FAQs

Ebooks & Checklists

Articles
Book a Demo
Sign in
Sign Up For Free
Products
VROOM

All-in-one secure video meeting, live streaming and collaboration tool for small business and large corporations

VWORK

Virtual workspace for individuals and teams to create and share easily from anywhere

VLEARN

Integrated platform offering online classes and instruction for individuals, professionals and groups.

Solutions
All Solutions

Individual

Be productive from home, office, and anywhere in between

Enterprise

Effective remote work solutions for small businesses to large corporations

Education

Powerful hybrid learning platform for education professionals and students

Government

Secure and transparent all-in-one workspace for government offices

Pricing
Resources
FAQs

Ebooks & Checklists

Articles
Book a Demo
Sign in
VROOM

VWORK

VLEARN

Sign Up For Free
VROOM

VWORK

VLEARN

August 4, 2022
·
Knowledge
2 mins read

7 เรื่องเข้าใจผิด! เกี่ยวกับแนวคิด Productivity

Misunderstanding-about-Productivity-05
SHARE

เมื่อพูดถึงการทำงานในยุคปัจจุบัน การเพิ่ม Productivity ให้กับตนเองกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ขาดไม่ได้ที่จะทำให้องค์กรเติบโตขึ้น แต่ยังมีคนจำนวนไม่น้อยที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าว และนี่คือ 7 สิ่งที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับการสร้าง Productivity

1.เงินเดือนเป็นสิ่งที่สะท้อน Productivity

Productivity เป็นเรื่องของการบริหารจัดการต้นทุนต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และแน่นอนว่าย่อมมีเรื่องเงินเดือนเข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้พนักงานหรือแม้แต่ผู้บริหารองค์กรบางรายมองว่าเงินเดือนเป็นสิ่งที่สะท้อน Productivity ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ถูกเสียทีเดียว

เงินเดือนเป็นสิ่งที่มีการคำนวณจากปัจจัยต่างๆ มากมาย ทั้งตำแหน่งหน้าที่ ความคาดหวัง ไปจนถึงความสามารถ มีหลายกรณีที่พนักงานได้รับเงินเดือนน้อยกว่าที่ควรจะเป็นแม้ว่าจะมี Performance ที่ดี การให้เงินเดือนสูงๆ จึงเป็นหนึ่งกลยุทธ์หลักในการรักษาไว้ซึ่งพนักงานที่มีความสามารถ แต่ไม่ว่าจะทำผลงานดีหรือไม่ พนักงานก็ยังคงได้รับเงินส่วนนี้เท่าเดิมเสมอ ดังนั้นจำนวนเงินเดือนจึงไม่ใช่เครื่องสะท้อน Productivity แต่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของแรงจูงใจในการทำงานเท่านั้น

2.Multitasking คือวิธีการทำงานที่ดี

หลายคนน่าจะคุ้นชินกับการ Multitasking หรือหมายถึงการทำงานหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน แต่จากการศึกษาของ University of London พบว่าการทำงานแบบ Multitasking ไม่ได้มีส่วนช่วยให้คุณสามารถทำงานได้เสร็จไวขึ้น เพราะการทำงานแบบนี้ยังสร้างประสิทธิผลน้อยกว่าการจดจ่ออยู่กับการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง นอกจากนี้การทำงานสลับไปมาหลายงานในเวลาเดียวกันยังมีส่วนในการทำลายความคิดสร้างสรรค์และ IQ ซึ่งเป็นขุมพลังสำคัญของการสร้าง Productivity ในการทำงานอีกด้วย

Misunderstanding-about-Productivity-01
Table of Contents

3.Productivity เป็นสิ่งที่วัดได้ยาก

“คนนั้นทำงานเก่ง คนนี้ทำงานดี” คำพูดเหล่านี้ทำให้ Productivity หรือผลิตผลมักอยู่ในรูปของนามธรรมทำให้หลายคนคิดว่าการวัดระดับ Productivity ออกมาเป็นรูปธรรมเป็นเรื่องที่ไม่สามารถทำได้อย่างเสมอภาค เพราะแต่ละตำแหน่งงานก็มีหน้าที่ สภาวะแวดล้อมและทักษะที่ใช้ในการทำงานซึ่งแตกต่างกัน

โดยในความจริงแล้ว การวัด Productivity เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ไม่ยากด้วยมาตราฐานการวัด Productivity แบบต่างๆ ผ่านการใช้กรอบแนวคิดที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็น MBO KPI หรือ OKR ก็ล้วนเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะในการทำงานทั้งสิ้น

4.คนเก่งต้องทำงานเองคนเดียว

คนเก่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่ทุกบริษัทต้องการ แต่การเป็นคนเก่งที่ทำงานคนเดียวเท่านั้นอาจจะไม่ใช่คำตอบที่ตอบสนองต่อแนวคิด Productivity ได้ดีนัก เพราะการทำงานด้วยตัวคนเดียวมีข้อจำกัดด้านภาระงานที่สามารถรับผิดชอบได้

การทำงานเป็นทีมจึงเป็นวิธีการทำงานที่ช่วยทลายข้อจำกัดในด้านของปริมาณภาระงานอันมากมายในโปรเจ็คใหญ่ๆ ซึ่งมักจะมีงานหลายประเภทและแต่ละงานก็เหมาะกับคนที่มีความถนัดแตกต่างกัน และการทำงานเป็นทีมยังช่วยพัฒนาทักษะในการบริหารความสัมพันธ์และการสื่อสาร ซึ่งต่างออกไปจากการทำงานเพียงคนเดียวอีกด้วย

Misunderstanding-about-Productivity-02

5.คนทำงานเก่งไม่จำเป็นต้องแสดงออกเก่ง

คุณเคยเจ็บใจหรือไม่เวลาเห็นคนทำงานไม่เก่งแต่มีทักษะการสื่อสารเป็นเลิศสามารถเสกงานแย่ๆ ให้กลายเป็นผลงานชิ้นโบแดงได้ทันตาเห็น การแสดงออกเป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้ผู้คนเข้าใจและประทับใจในงานของคุณมากยิ่งขึ้น

ดังนั้นหากเป็นคนที่ทำงานเก่งแล้ว สิ่งต่อมาที่ต้องต่อยอดคือทักษะการพรีเซนต์ การแสดงออกต่อหน้าผู้คน และการสื่อสารอย่างมีคุณภาพเพื่อเป็นใบเบิกทางสู่ความสำเร็จต่างๆ ในอนาคต

6.คนที่ทำงานมีประสิทธิภาพไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือช่วย

สำหรับการทำงานในยุคโลกาภิวัฒน์ที่ทุกคนใช้เครื่องมือช่วยเหลือในการทำงานแล้ว การไม่ใช้งานเครื่องมือช่วยอาจจะลด Productivity ในการทำงานลง เพราะเครื่องมือเหล่านี้สามารถร่นระยะเวลาในการทำงานที่มีรูปแบบตายตัวหรืองานที่ต้องทำเป็นประจำลงได้เป็นอย่างมาก ซึ่งงานซ้ำๆ จำเจพวกนี้นี่แหละ ที่ทำให้คุณไม่มีเวลาในการสร้างสรรค์คุณค่าใหม่ๆ ดังนั้นหากมีเครื่องมือช่วยงานที่เหมาะสมกับลักษณะงานหรือสามารถเชื่อมโยงไอเดียที่แตกต่างของคุณกับทีมได้ ก็อย่ารีรอที่จะนำมาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่ม Productivity ให้กับงานของคุณเลย

Misunderstanding-about-Productivity-03

7.Productivity สำคัญที่สุดในการทำงาน

แน่นอนว่า Productivity เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้งานของคุณออกมามีประสิทธิภาพ แต่อย่างไรก็ตามการบริหารคุณภาพชีวิตให้มีความสมดุลและสามารถรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคนรอบตัวเอาไว้ได้ก็เป็นสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน

เพราะคุณภาพชีวิตที่ดี และการบริหารจัดการเวลาที่พอเหมาะจะส่งผลโดยตรงให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราดีขึ้น แน่นอนว่าสิ่งเหล่านั้นจะช่วยผลักดันคุณภาพการทำงาน ความสัมพันธ์ในองค์กร ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีต่อทั้งตัวพนักงานและองค์กรในระยะยาวอีกด้วย

สรุป

แนวคิดการสร้าง Productivity ในแต่ละบุคคลนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ผลิตภาพของคนในบริษัทเป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องถูกปูความเข้าใจตั้งแต่รากฐาน เพื่อทำให้เข้าใจภาพรวมตรงกันว่าเป้าหมายของบริษัทคืออะไร และทำอย่างไรจึงจะสำเร็จ บุคลากรแต่ละคนจึงสามารถทำตนเองให้มี Productivity ได้อย่างเหมาะสมที่สุด

แน่นอนว่าเครื่องมือเองก็มีส่วนเกี่ยวข้องเช่นกัน การมีตัวช่วยที่ดีสำหรับประชุมงานและการสื่อสารภายในทีมที่มีประสิทธิภาพจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เพิ่ม Productivity ในบริษัทได้อย่างชัดเจน ซึ่ง True VROOM เป็นอีกหนึ่งแพลตฟอร์มที่สามารถพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของคุณได้มากขึ้น ตอบโจทย์การทำงานของคนรุ่นใหม่ สามารถดูรายละเอียดต่าง ๆ และทดลองใช้งานได้ฟรีที่ True VROOM

Learn more about

VROOM

Co-host, moderate, present, and so much more
Learn more
truevworld_admin

truevworld_admin

Tech Insight by True VWORLD
truevworld_admin

truevworld_admin

Tech Insight by True VWORLD

Suggested Reading

imposter-syndrome-thumbnails
March 20, 2023
·
Knowledge
March 20, 2023
2 mins read

5 สัญญาณ เมื่อคุณกำลังเจอ Imposter Syndrome พร้อมเทคนิคการรับมือ

Imposter Sysndrome ภาวะทางใจของคนทำงานจำนวนมากที่แม้จะสร้างผลงานได้ดีแค่ไหน ก็ไม่รู้สึกว่าความสำเร็จนั้นมาจากความสามารถของตัวเอง ทำให้ Self-esteem ของผู้ทำงานลดลงจนอาจส่งผลกระทบต่อ productivity ในการทำงานและก่อเป็นปัญหาอื่นๆ ในที่สุด ซึ่งการจัดการปัญหาดังกล่าวสามารถเริ่มต้นได้ง่ายๆ ด้วยการสังเกต 5 สัญญาณ เมื่อคุณกำลังเจอ Imposter Syndrome พร้อมเทคนิคการรับมือ Table of Contents รู้จักกับ Imposter SyndromeImposter Sysndrome หรือที่รู้จักกันในชื่อ ”โรคคิดว่าตัวเองไม่เก่ง” เป็นภาวะการขาดความเชื่อมั่นในความสามารถของตัวเองและขาดการยอมรับในความสำเร็จที่ตนได้รับ ซึ่งผลการวิจัยจาก American Psychological Association เผยว่ากลุ่มตัวอย่างมากกว่า 70% เคยประสบกับ Imposter Syndrome ในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต โดยการปล่อยปะละเลยอาการ Imposter Syndrome ไว้โดยไม่ได้ใส่ใจ อาจส่งผลกระทบต่อทั้งตัวคุณเองและองค์กรในหลายแง่มุม ผลกระทบต่อตนเองติดอยู่ใน Comfort Zone เพราะกลัวทำผลงานได้ไม่ดีแยกเวลาในการใช้ชีวิตส่วนตัวออกจากเวลาทำงานไม่ได้เพราะต้องทำงานไม่รู้จบสิ้นเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าและอาการวิตกกังวลจากความเครียดสะสมผลกระทบต่อองค์กรProductivity ในการทำงานลดลงเนื่องจากสภาพจิตใจของพนักงานที่ไม่เชื่อมั่นในความสามารถของตนเองบรรยากาศในการทำงานย่ำแย่และเต็มไปด้วยความกดดันองค์กรมีค่าใช้จ่ายด้านพนักงานสูงขึ้นแต่มีวัฒนธรรมองค์กรที่แย่ลง เนื่องจากมีการหมุนเวียนของพนักงานที่ลาออกสูงขึ้นสัญญาณที่บ่งบอกว่าคุณมีโอกาสเป็น Imposter Syndrome1. ไม่ยินดีกับความสำเร็จของตนเองทุ่มเทกับงานจนประสบความสำเร็จ แต่กลับไม่ยินดีกับผลลัพธ์ที่ได้มา รู้สึกว่าความสามารถของตนยังไม่คู่ควรกับความชื่นชมหรือโอกาสที่ได้รับ และคิดว่าคนอื่นๆ ในสังคมดูไม่กังขาในตัวเองและมั่นใจในความสามารถของพวกเขาเหลือเกิน ในขณะที่คุณยังคงเคลือบแคลงในความสามารถของตัวเอง2. มักคิดว่าความสำเร็จของคุณเกิดจากปัจจัยอื่นมากกว่าคุณเชื่อว่าความสำเร็จที่ได้รับเกิดจากโชคช่วย ความผิดพลาดของระบบหรือจากข้อได้เปรียบต่างๆ มากกว่าความสามารถของตน รู้สึกกระอักกระอ่วนเหมือนกับว่าตัวเองโกงการแข่งขันจนได้รับชัยชนะมาแม้ว่าความพยายามที่ผ่านมาของคุณจะเด่นชัดแค่ไหนก็ตาม3. เริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ ได้ยาก เนื่องจากคิดว่าตนไม่เหมาะการเริ่มต้นทำสิ่งใหม่และการรับกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นเรื่องยาก แม้จะมีการเตรียมพร้อมมาเป็นอย่างดี แต่ก็ไม่สามารถบรรเทาความวิตกกังวลลงได้ คุณกลัวว่าจะทำสิ่งนั้นได้ไม่ดีเพราะตนไม่เก่งพอและไม่เหมาะสมกับโอกาสที่ได้รับมากเท่าคนอื่นๆ จนไปถึงไม่ยอมขยับขยายเพราะกลัวคนอื่นจะมองว่าตนไม่ได้เก่งทุกเรื่องอย่างที่เห็น4. คิดเสมอว่าสิ่งที่ตนเองทำ ใครๆ ก็ทำได้แม้จะประสบความสำเร็จ คุณกลับไม่คิดว่าตนมีความสามารถหรือพิเศษแต่อย่างใด เพราะความสำเร็จนั้นเป็นแค่เรื่องธรรมดาที่ใครก็ทำได้ จนไปถึงคิดว่าหากเป็นคนอื่นที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันก็คงจะทำได้สำเร็จไม่ต่างกัน5. สิ่งที่ทำไปไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ดีพอ แม้จะได้รับคำชมก็ตามคุณมองว่าผลงานที่ได้ส่งมอบไปไม่สมบูรณ์แบบแม้จะได้รับคำชม ต้องพยายามมากกว่านี้เพื่อให้ผลงานออกมาดีมากขึ้นอีกและผลงานตอนนี้ไม่คู่ควรกับคำชมที่ได้รับ วิธีการรับมือ Imposter Syndrome เบื้องต้น1. สำรวจว่าคุณ “ไม่เก่งพอ” จริงๆ รึเปล่าทบทวนความคิด หยุดเชื่อการใช้ความรู้สึก แล้วหันไปสำรวจข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นจริงอย่างที่ความคิดพาไปหรือไม่ คุณไม่เก่งพอจริงๆ หรือแค่นั่นยังไม่ใช่จุดที่ใช่ คุณมีจุดแข็งและจุดอ่อนอย่างไรบ้าง ความพยายามที่ผ่านมาทำให้คุณได้อะไร และก้าวมาได้ไกลขนาดไหน2. ปรับมุมมองเข้าหา Growth Mindsetต่อให้คุณยังไม่เก่งพอจริงๆ ก็ไม่ใช่เรื่องผิด เพราะมนุษย์เราสามารถเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพในตัวได้ในทุกวันตราบใดที่คุณยังมุ่งมั่นที่จะก้าวไปข้างหน้า โดย Growth Mindset ก็เป็นหนึ่งแนวคิดที่สามารถแทนที่ความรู้สึกด้อยค่าในตนเองให้กลายเป็นแรงผลักดันที่จะช่วยให้คุณรู้ลึก เก่งจริงได้ 3. เริ่มทำสิ่งต่างๆ แม้ว่าจะไม่พร้อมแม้การเริ่มต้นใหม่จะเป็นเรื่องยากและคุณอาจไม่อยู่ในสถานการณ์ที่ชวนให้รู้สึกปลอดภัยจนรู้สึกว่าต้องทำได้ไม่ดี แต่คนที่ไม่เคยพลาดคือคนที่ไม่เคยทำอะไรเลย ความผิดพลาด อุบัติเหตุและโอกาสต่างๆ คือสิ่งที่ทุกคนต้องเจอเป็นเรื่องปกติ การเรียนรู้จากความผิดพลาดและลุกขึ้นใหม่ต่างหากคือสิ่งที่สร้างคนเก่งที่แท้จริง4. ลดการเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่นการเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นมากเกินไปคือหนึ่งปัจจัยสำคัญที่บั่นทอนความเชื่อมั่นใจตนเอง ซึ่งแม้จะเป็นเรื่องธรรมชาติที่สิ่งมีชีวิตจะเปรียบเทียบกันและกันเพื่อการอยู่รอด แต่สำหรับมนุษย์ซึ่งมีความถนัดในรายบุคคลที่แตกต่างกันแล้ว การรู้เท่าทันความคิดและความรู้สึกของตัวเองเพื่อไม่ให้สูญเสียความเชื่อมั่นในตัวเองไปเป็นเรื่องที่สำคัญมาก5. พบจิตแพทย์หากปัญหาที่เกิดขึ้นจาก Imposter Syndrome กระทบต่อการดำเนินชีวิตจนไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง การเข้าพบจิตแพทย์เพื่อรับคำแนะนำและการบำบัดต่างๆ อย่างตรงจุดจากผู้เชี่ยวชาญก็เป็นวิธีที่ดีที่สุดสรุปแม้ว่า Imposter Syndrome จะเกิดขึ้นได้กับทุกระดับตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงพนักงานทั่วไป แต่มันก็ไม่ได้ถูกจัดเป็นโรคร้ายหรือความเจ็บป่วยทางจิตใจแต่อย่างใด เป็นเพียงภาวะความเครียดที่ถูกสร้างขึ้นมาในใจซึ่งคุณสามารถรับมือได้ด้วยตัวเองผ่านการปรับ Mindset การอยู่ร่วมกับผู้อื่นและการตกผลึกความคิดTrue VWORK ซึ่งเป็นหนึ่งในแพลตฟอร์มการทำงานออนไลน์ที่อำนวยความสะดวกให้พนักงานติดต่อสื่อสารและพูดคุยกันได้ง่ายขึ้น ช่วยทำให้ทุกคนเกิดความเข้าใจกันได้กันได้ดียิ่งขึ้นแม้ทำงานห่างกัน เพื่อสนับสนุนหนทางให้พนักงานทุกคนสามารถเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากคุณสนใจสามารถดูรายละเอียดได้ที่ True VWORKอ้างอิงTED-EdDR JINGpobpadFWDmissiontothemoonwebmdverywellmindistrongpivotalsolutions
Read More
February 20, 2023
·
Knowledge
February 20, 2023
2 mins read

Employee Engagement คืออะไร? กุญแจสำคัญ สร้างองค์กรให้ยั่งยืน

บริษัทสวัสดิการดีขนาดนี้ทำไมพนักงานยัง Burnout? ขึ้นเงินเดือนให้แล้วแต่ทำไมยังลาบ่อย? โบนัสก็เยอะทำไมพนักงานยังลาออก? สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่ทุกบริษัทกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน เพราะรูปแบบการทำงานและเป้าหมายในการใช้ชีวิตของคนยุคใหม่แตกต่างจากในอดีตอย่างสิ้นเชิง เพราะฉะนั้นการสร้างแรงจูงใจในการทำงานจึงเป็นสิ่งที่ท้าทาย แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ด้วย Employee Engagementแล้ว Employee Engagement คืออะไร? เราจะสร้าง Employee Engagement ที่ดีต่อพนักงานได้อย่างไร? บทความนี้มีคำตอบให้คุณแน่นอน Table of Contents Employee Engagement คืออะไร?Employee Engagement คือ การมีส่วนร่วมหรือความผูกพันของพนักงานที่มีต่องานและองค์กร เป็นการแสดงออกถึงการให้ความร่วมมือกับกิจกรรมในองค์กรอย่างสมัครใจ ทำให้เกิดแรงจูงใจที่จะมุ่งมั่นทุ่มเทต่อค่านิยม (Company Values) และเป้าหมายทางธุรกิจหลักขององค์กร (Company Goals) จนกลายเป็นความผูกพัน โดยพนักงานจะรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ตลอดจนรู้สึกในการเป็นเจ้าขององค์กรร่วมกัน ก่อให้เกิดแรงพลักดันให้องค์กรก้าวสู่ความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และนำมาสู่ความจงรักภักดีต่อองค์กรในที่สุดเมื่ออ่านถึงตรงนี้คุณอาจจะคิดว่า Employee Engagement สามารถสร้างได้ด้วยการกำหนดเป้าหมายขององค์กรที่ชัดเจน แต่ความจริงแล้วการสร้าง Employee Engagement ที่ดีต้องคำนึงถึงเป้าหมายชีวิตของพนักงาน (Life Goals) ด้วย เพราะฉะนั้นหากองค์กรไหนสามารถออกแบบเป้าหมายขององค์กรควบคู่ไปกับการตอบโจทย์เป้าหมายชีวิตของพนักงานได้เป็นอย่างดีก็จะสามารถสร้างพนักงานที่มีความสุข และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่งพร้อมมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรอย่างสม่ำเสมอได้ ถือได้ว่า Employee Engagement คือหนึ่งในวิธีการและเป็นหนทางสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กรอย่างแท้จริงทำไม Employee Engagement ถึงสำคัญต่อธุรกิจในยุคปัจจุบันปัจจุบันการแข่งขันทางเศรษฐกิจและการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ Employee Engagement มีบทบาทต่อธุรกิจเป็นอย่างมาก โดยงานวิจัยด้านการมีส่วนร่วมของพนักงานของ Gallup ได้อธิบายประโยชน์ของ Employee Engagement ไว้ดังต่อไปนี้1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงาน (Productivity Improvement)องค์กรที่พนักงานพร้อมมีส่วนร่วมและมีความผูกพันต่องานและองค์กรจะมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่าพนักงานทั่วไปถึง 18% นอกจากนี้ยังสามารถกระตุ้นให้พนักงานเต็มใจสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นมากกว่าเดิม 2 เท่าอีกด้วย2. ช่วยลดอัตราพนักงานลาออกจากงาน (Higher Employee Retention)หากองค์กรให้ความสำคัญต่อพนักงานโดยการรับรู้ถึงความพยายามของพวกเขา และช่วยพลักดันให้พนักงานเติบโตในสายอาชีพอย่างมั่นคงจะส่งผลให้พนักงานรู้สึกผูกพันกับงานที่ทำและพยายามทุ่มเทให้กับการทำงานมากยิ่งขึ้น ซึ่งการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรและพนักงานนี้เองที่ช่วยลดอัตราพนักงานลาออกได้ถึง 43% ในองค์กรที่มีอัตราการลาออกต่ำ และ 18% ในองค์กรที่มีอัตราการลาออกสูง3. ช่วยสร้างกำไรให้บริษัทมากขึ้น (Improve Profit)พนักงานที่มีความผูกพันกับงานที่ทำและมีส่วนร่วมกับทีมจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพของสินค้าและบริการให้ดียิ่งขึ้น ส่งผลให้องค์กรสามารถสร้างผลกำไรให้ได้สูงถึง 23% เมื่อเทียบกับบริษัททั่วไป4. ลูกค้าพึงพอใจในการบริการมากขึ้น (Improve Customer Satisfaction)พนักงานที่มี Employee Engagement ที่ดีมักจะมีความสุขในการทำงาน นอกจากนี้พวกเขายังส่งต่อความสุขไปยังลูกค้าผ่านการบริการที่ดีเยี่ยม ในขณะเดียวกันพวกเขาจะกระตือรือร้นในการดึงดูดลูกค้าใหม่อยู่เสมออีกด้วย โดยจากงานวิจัยพบว่าองค์กรที่มี Employee Engagement ที่ดีสามารถเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าได้มากถึง 10%ถึงตรงนี้คุณคงเข้าใจแล้วว่า Employee Engagement คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร? เพราะฉะนั้นเรามาดูเคล็ดลับที่จะทำให้พนักงานมีความสุข ทุ่มเทกับการทำงานอย่างเต็มที่ และอยากร่วมงานกับองค์กรไปนานๆ ในหัวข้อถัดไปกันเลย 5 เคล็ดลับมัดใจพนักงานด้วยการสร้าง Employee Engagement ที่ดี1. การสื่อสารต้องดี และประสิทธิภาพ (Sufficiency Communication)การสื่อสารนับว่าเป็นหนึ่งในเคล็ดลับของความสำเร็จในการสร้าง Employee Engagement เพราะพนักงานในองค์กรที่มีการสื่อสารที่แข็งแกร่งจะทำงานได้ดีและมีประสิทธิภาพมากกว่าพนักงานในองค์กรที่ขาดการสื่อสาร ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจผิดระหว่างบุคคล การทำงานผิดพลาด และการเลื่อนกำหนดเวลาส่งงานโดยองค์กรควรเริ่มต้นตั้งแต่การสร้างกระบวนการ Onboarding ที่ราบรื่น ซึ่งเป็นปราการด่านแรกที่สามารถสร้างความสนใจจากพนักงานได้ทันทีที่เข้าทำงาน ไปจนถึงการสื่อสารระหว่างพนักงานในองค์กรในแต่ละวัน โดยเลือกช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมและเข้าถึงง่าย เช่น การใช้แพลตฟอร์มที่ช่วยให้พนักงานสามารถแชทและวิดีโอถึงเพื่อนร่วมงานได้ทันทีและทุกที่ ทำให้การทำงานร่วมกันราบรื่นยิ่งขึ้น2. หมั่นชื่นชมและให้รางวัลในทุกๆ ความสำเร็จ (Praise and Reward)พนักงานจะรู้สึกภาคภูมิใจ กระตือรือร้น หลงใหล และมีกำลังใจในงานที่ทำก็ต่อเมื่อพวกเขารับรู้ว่าความพยายามของพวกเขามีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อองค์กร เพราะฉะนั้นไม่ว่าผลงานของพวกเขาจะเล็กน้อยเพียงใดก็ควรได้รับการยกย่อง โดยอาจเริ่มต้นจากการชื่นชมด้วยคำว่า “ขอบคุณ” ไปจนถึงการให้รางวัลที่มีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน เช่น ค่าตอบแทน สวัสดิการ การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในออฟฟิศ และการให้รางวัลพนักงานดีเด่นประจำปีการชื่นชมและให้รางวัลยังสำคัญมากๆ ต่อพนักงานที่ Work from Home เพราะบ่อยครั้งที่ไม่มีใครมองเห็นความพยายามของพวกเขา เพราะฉะนั้นองค์กรควรมีแพลตฟอร์มออนไลน์ที่สร้างปฏิสัมพันธ์ภายในองค์กร พร้อมเปิดโอกาสให้พนักงานทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและชื่นชมเพื่อนร่วมงานได้แบบเรียลไทม์3. สร้าง Teamwork ที่แข็งแกร่งและสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ (Teamwork & Working Environmental)ไม่มีพนักงานคนไหนอยากทำงานในองค์กรที่มีสิ่งแวดล้อมที่แย่ ซึ่งกระทบต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ หรือมีเพื่อนร่วมงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นองค์กรจึงควรสร้างสถานที่ทำงานที่มีความสุขและพนักงานมีส่วนร่วมกันอย่างแท้จริง โดยใส่ใจสภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงานเพื่ออำนวยความสะดวก และเอื้อประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ของพนักงานอย่างสม่ำเสมอ รวมไปถึงสนับสนุนระบบการทำงานเป็นทีม เพื่อให้ทุกคนได้ร่วมมือกัน ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาไปด้วยกัน ก่อให้เกิดความสามัคคีซึ่งเป็นพลังพลักดันให้องค์ก้าวหน้าและแข็งแกร่งขึ้น4. สร้างพื้นที่เพื่อให้คนเก่งได้เติบโต (Create Opportunities For Growth)ถึงแม้ว่าองค์กรของคุณจะมีขนาดใหญ่ มีผลกำไรต่อปีมหาศาล และพนักงานมีความสุขในการทำงาน แต่ถ้าพวกเขาเริ่มรู้สึกมองไม่เห็นอนาคตและความก้าวหน้าของเขาในองค์กรนี้อีกต่อไป ก็อาจทำให้คนเก่งๆ หลายๆ คนตัดสินใจลาออกจากงานเพื่อไปหาโอกาสที่ดีกว่า เพราะฉะนั้นการส่งเสริมและมอบพื้นที่ของการเติบโตในองค์กรจึงเป็นสิ่งสำคัญ ทั้งการจัดการฝึกอบรมเพื่อยกระดับทักษะให้กับพนักงาน การให้รางวัลพนักงานที่ทำหน้าที่ของตนได้ดี รวมไปถึงการให้โอกาสพนักงานได้ทดลองสลับหน้าที่หรือย้ายแผนกเพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ5. สร้างตัวเลือกให้พนักงานได้ทำงานยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น (Create Flexible and Remote Work Options)ปัจจุบัน Work from Home กลายเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นหนึ่งในผลประโยชน์ในการจ้างงาน เนื่องจากพนักงานส่วนใหญ่เคยชินกับการทำงานระยะไกลในช่วงที่เกิดโรคระบาด ทำให้เมื่อสถานการณ์เริ่มกลับมาเป็นปกติพวกเขายังคงต้องการทำงานระยะไกลเพื่อรักษาความยืดหยุ่นในการทำงาน และรักษาสมดุลชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-life Balance) ต่อไป โดยเฉพาะพนักงาน Gen Z หรือ Millennials ซึ่งจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึง 75% ของพนักงานทั้งหมดในปี 2030 มีแนวโน้มต้องการทำงาน Work from Home หรือตารางการทำงานที่ยืดหยุ่นมากกว่า Gen อื่นๆ อีกด้วยสรุปไม่แปลกใจเลยหากมีคนเปรียบเทียบว่า Employee Engagement คือกุญแจสำคัญในการสร้างองค์กรให้ยั่งยืน เพราะทุกองค์กรมีพนักงานเป็นแรงขับเคลื่นให้องค์กรพัฒนาต่อไปได้ หากพนักงานมีความสุขในการทำงาน ไม่เกิดอาการ Burnout และเห็นคุณค่าตนเองในการทำงาน ก็จะช่วยให้องค์กรสามารถรักษาพนักงานเก่งๆ ให้ทำงานในองค์กรต่อไป นำมาสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และสร้างผลกำไรในอนาคตซึ่งในปัจจุบันก็มีเครื่องมือมากมายที่ช่วยให้องค์กรสร้าง...
Read More
May 23, 2022
·
May 23, 2022
4 mins read

VWORK Tutorial Block Extra Content

Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec...
Read More
May 23, 2022
·
May 23, 2022
2 mins read

VLEARN Tutorial Block Example

Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Table of Contents Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet.  ภาพประกอบ: Unsplash Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet. Lorem ipsum sai dolor consec tetur adipis sit amet, consec tetur adipis cing elit. Lorem ipsum consec tetur adipis sai dolor sit amet.  "Showing clients analytical numbers about what happened and where isn't always enough. When I introduced visual insights into 'why' shoppers behave certain ways, specifically session recordings, I saw...
Read More

Stay up to date with the latest news and updates from
True VWORLD

  • 0-2700-8011

Monday – Sunday

8:00 a.m. to 6:00 p.m.

Products

VROOM

VWORK

VLEARN

  • VCLASS
  • VCOURSE

Solutions

Individual

Enterprise

Education

Government

Tutorials

Tutorials - VROOM

Tutorials - VWORK

Tutorials - VLEARN

Products

VROOM

VWORK

VLEARN

  • VCLASS
  • VCOURSE
Solutions

Individual

Enterprise

Education

Government

FAQs

Pricing

Articles

About us

Contact us

  • English
    • Thai

All Rights Reserved © True VWORLD.

Privacy Policy

Terms & Condition

VROOM
VWORK
VLEARN

All Rights Reserved © True VWorld.

  • English
    • Thai
We use cookies on our website. By clicking “Accept All”, you consent to the use of all the cookies.
Cookie SettingsAccept All
Manage consent

Privacy Overview

This website uses cookies to improve your experience while you navigate through the website. Out of these, the cookies that are categorized as necessary are stored on your browser as they are essential for the working of basic functionalities of the website. We also use third-party cookies that help us analyze and understand how you use this website. These cookies will be stored in your browser only with your consent. You also have the option to opt-out of these cookies. But opting out of some of these cookies may affect your browsing experience.
Necessary
Always Enabled
Necessary cookies are absolutely essential for the website to function properly. These cookies ensure basic functionalities and security features of the website, anonymously.
CookieDurationDescription
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics".
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsThe cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional".
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary".
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other.
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance".
viewed_cookie_policy11 monthsThe cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data.
Functional
Functional cookies help to perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collect feedbacks, and other third-party features.
Performance
Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.
Analytics
Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.
Advertisement
Advertisement cookies are used to provide visitors with relevant ads and marketing campaigns. These cookies track visitors across websites and collect information to provide customized ads.
Others
Other uncategorized cookies are those that are being analyzed and have not been classified into a category as yet.
SAVE & ACCEPT